Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับครูปฐมวัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Development of Learning Activity Package by Using Inquiry Process for Promoting Science Experiences Management for Early Childhood Teacher
ชื่อผู้แต่ง
วราลี ถนอมชาติ และ เกศิณี ศิริสุนทรไพบูลย์
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2563
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับครูปฐมวัยให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ประเมินและปรับปรุงชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับครูปฐมวัยในประเด็นต่อไปนี้ 2.1) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.2) เปรียบเทียบความสามารถในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.3) ศึกษาความคิดเห็นของครูปฐมวัยที่มีต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูปฐมวัย จำนวน 15 คน ซึ่งได้จากการเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ 3)แบบทดสอบวัดความสามารถในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับครูปฐมวัย และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของครูปฐมวัยที่มีต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ สถิติร้อยละ (%) การหาค่าเฉลี่ย (¯X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีทั้งหมด 3 ชุดกิจกรรม แต่ละชุดกิจกรรมประกอบด้วย ชื่อกิจกรรม คำชี้แจง จุดประสงค์การเรียนรู้ ใบความรู้/ใบกิจกรรม แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน และมีค่าประสิทธิภาพ 81.56/85.67 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่กำหนดไว้ 2. ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า 2.1 ผลการเรียนรู้หลังการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 85.67 และก่อนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 56.33 2.2 ความสามารถในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์หลังการใช้ชุดกิจกรรม การเรียนรู้สูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 85.93 และก่อนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 58.81 2.3 ครูปฐมวัยมีความคิดเห็นต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purpose of this research were to ; 1) develop and determine the efficiency of the learning activity package by using inquiry process for promoting science experiences management for early childhood teacher to meet the hypothetical criterion of 80/80 and 2) evaluate and improve the learning activity package 2.1) Compare learning outcome before and after using the activity package 2.2) Compare science experiences management before and after using the activity package 2.3) Study the childhood teachers’ opinions toward learning activity package. The sample consisted of 15 early childhood teachers, which obtained by using the purposive sampling technique. The instrument included 1) learning activity packages, 2) learning outcome test , 3) science experiences management ability test and 4) questionnaire. The collected data were analyzed by percentage, average value, and standard deviation. The research finding were as follows : 1. There were three learning activity package learning activity packages and each consisted of topics as follow, : the title of learning activity packages, explanation, objectives, worksheet, learning achievement test before being taught and learning achievement test. The efficiency of learning activity packages was 81.56/85.67. 2. The results were : 2.1) After trying out the learning activity packages, the early childhood teachers learning outcome were higher than before trying out the learning activity packages. 2.2)After trying out the learning activity packages, the early childhood teachers’ science experiences management ability were higher than before trying out the learning activity packages. 2.3) Early childhood teachers’ opinions toward learning activity package were at the highest level.
คำสำคัญ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้, กระบวนการสืบเสาะหาความรู้, การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
Keywords
Learning Activity Package, Inquiry Process, Science Experiences Management
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-11-09 14:22:33
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก