Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาการจัดการ
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
แนวทางการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนไทย–กัมพูชา กรณีศึกษาตลาดการค้าชายแดนจังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Development of Thailand – Cambodia Border Trade Market Case Study at Chanthaburi Border Trade Market
ชื่อผู้แต่ง
วัชรินทร์ อรรคศรีวร และ ยุทธนา พรรคอนันต์
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาการจัดการ
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2559
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่อแนวทางในการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวัดจันทบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบ ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อแนวทางในการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวัดจันทบุรี ระหว่างด่านพรมแดนบ้านผักกาด และ ด่านพรมแดนบ้านแหลม 3) เพื่อประเมิน ความพึงพอใจในแนวทางการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวัดจันทบุรี ระหว่างด่านพรมแดนบ้านผักกาด และ ด่านพรมแดนบ้านแหลม ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคือ ผู้มีส่วนได้เสีย 4 กลุ่ม ประกอบด้วย ลูกค้า/นักท่องเที่ยว ประชาชนในพื้นที่ ผู้ประกอบการ และตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ในเขตการค้าชายแดนไทย–กัมพูชา จังหวัดจันทบุรี จานวน 400 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ จัดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสีย จานวน 80 คน แล้วนำไปประเมินความพึงพอใจ/ความเป็นไปได้จากผู้มีส่วนได้เสียจานวน 100 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (xˉ ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) การวิเคราะห์ความแปรปรวน (One Way ANOVA) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษาพบว่า 1) ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อแนวทางในการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวัดจันทบุรีนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการปรับปรุงพัฒนาด่านและตลาดการค้าให้มีสิ่งอานวยความสะดวกที่ครบถ้วน เพิ่มพูนความรู้ให้แก่ผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มศักยภาพในการประกอบการค้าระหว่างประเทศ การปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ระบบคมนาคมและโลจิสติกส์ ปรับปรุงระบบภาษี พิธีการทางศุลกากรให้เหมาะสม เพื่อมุ่งไปสู่การเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ 2) ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียต่อแนวทางในการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวัดจันทบุรี ระหว่างด่านพรมแดนบ้านผักกาดและด่านพรมแดนบ้านแหลม ในด้านการบริหารจัดการและสนับสนุนจากภาครัฐมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 3) การประเมินความพึงพอใจในแนวทางการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนไทย-กัมพูชาพบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากคือเป็นแนวทางการพัฒนาที่ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสีย และสามารถนามาปรับปรุงและพัฒนาตลาดได้จริง ซึ่งความพึงพอใจในแนวทางการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวัดจันทบุรี และความเป็นไปได้ในการนาแนวทางการพัฒนามาประยุกต์ใช้ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purpose of this research is 1) to study the opinion of stakeholders on the development of Thailand – Cambodia Border Trade Market. Case Study at Chanthaburi Border Trade Market. 2) to compare the opinions of stakeholders on the development of Thailand – Cambodia Border Trade Market. Case Study at Chanthaburi Border Trade Market. Between Banleam checkpoint border and Baanpakkad checkpoint border. 3) to assess satisfaction with the development of Thailand – Cambodia Border Trade Market. Case Study at Chanthaburi Border Trade Market. Between Banleam checkpoint border and Baanpakkad checkpoint border. The research methodology is mixed method consists of qualitative research and quantitative research. Population and sample in this study amount 400 samples is stakeholder 4 groups include Customers/traveler, People in the area, entrepreneur and Local governments and relevant government by accidental sampling. The symposium of Stakeholders of the 80 samples. Then evaluate the satisfaction evaluation / feasibility of the development of Thailand – Cambodia Border Trade Market for stakeholders amount 100 samples. Data analysis as percentage, mean, standard deviation (SD), analysis of variance (One Way ANOVA) and content Analysis. The study found that 1) Comments of stakeholders on the development of Thailand – Cambodia Border Trade Market., the relevant agencies should be improved sustainability and commercial markets with complete facilities. Increase the knowledge of the operator to enhance its international trade. Improving basic infrastructure, electricity, water, telephone, transport and logistics. Improve the tax system, Customs clearance fit towards a special economic zone. 2) Comments Stakeholders on the development of Thailand – Cambodia Border Trade Market. Case Study at Chanthaburi Border Trade Market. Between Banleam checkpoint border and Baanpakkad checkpoint border. In management and government support are significantly different at the 0.05 level. 3) the satisfaction of the guidelines in the development of Thailand – Cambodia Border Trade Market. Case Study at Chanthaburi Border Trade Market. Found that opinions are to a large extent is a development that all parties involved bring benefits to stakeholders and can be improved and developed markets, actually. For the satisfying and the possibility of bringing development applications opinions are moderate. Keywords : Development Thailand – Cambodia Border Trade Market Chanthaburi
คำสำคัญ
แนวทางการพัฒนา ตลาดการค้าชายแดนไทย – กัมพูชา จังหวัดจันทบุรี
Keywords
Development Thailand – Cambodia Border Trade Market Chanthaburi
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 11:21:00
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก