Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การสำรวจร้านขายแมลงเพื่อการบริโภค และการวิเคราะห์โปรตีนแมลงที่มีความนิยมบริโภคของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
A survey of edible insect shop and analysis of protein in edible insect of consumer preference in Maung district, Chanthaburi province.
ชื่อผู้แต่ง
วัชรวิทย์ รัศมี และ จิรพร สวัสดิการ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจจำนวนร้านแมลงกินได้ และพฤติกรรมการจำหน่ายแมลงกินได้ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ทำการลงพื้นที่เก็บข้อมูลจาก 11 ตำบลคือ ตำบลเกาะขวาง ตำบลแสลง ตำบลคมบาง ตำบลคลองนารายณ์ ตำบลจันทนิมิตร ตำบลตลาด ตำบลท่าช้าง ตำบลบางกะจะ ตำบลพลับพลา ตำบลวัดใหม่ และตำบลหนองบัว ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2562 ถึงกันยายน 2562 พบว่ามีร้านจำหน่ายแมลงกินได้ทั้งหมด 11 ร้าน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ตำบลท่าช้างมีจำนวนร้านจำหน่ายแมลงกินได้มากที่สุดจำนวน 3 ร้าน รองลงมาคือตำบลจันทนิมิตร ตำบลวัดใหม่ ตำบลแสลง ตำบลตลาด ตำบลพลับพลา และตำบลหนองบัวมีจำนวนเท่ากับ 2, 2, 1, 1, 1 และ 1 ร้าน ตามลำดับ สำหรับตำบลเกาะขวาง ตำบลคมบาง ตำบลคลองนารายณ์ และตำบลบางกะจะ ไม่พบร้านจำหน่ายแมลงกินได้ สำหรับพฤติกรรมการจำหน่ายแมลงกินได้ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ได้ใช้กลุ่มตัวอย่างคือผู้จำหน่ายแมลงกินได้ทั้งหมด 11 ร้าน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งแบ่งโดยใช้สถิติต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ จากผลงานวิจัยพบว่าผู้จำหน่ายแมลงกินได้ส่วนมากเป็นเพศหญิง จำนวน 63.64% โดยมีอายุระหว่าง 41-50 ปี จำนวน 72.73% สำหรับระยะเวลาที่ประกอบอาชีพส่วนมากอยู่ระหว่าง 1-2 ปี จำนวน 45.45% ส่วนช่วงเวลา16.01-22.00 น. เป็นช่วงเวลาที่ร้านเปิดจำหน่าย และเป็นช่วงเวลาขายดี โดยมีค่าเท่ากับ 72.73 และ 81.82% ตามลำดับ โดยแหล่งวัตถุดิบส่วนมากซื้อมาจากพ่อค้าคนกลาง จำนวน 45.45% สำหรับกลุ่มลูกค้าส่วนมากเป็นนักเรียนนักศึกษา จำนวน 63.64% นอกจากนี้แมลงกินได้ที่ขายดี พบว่าหนอนไหมขายดีที่สุดคิดเป็น 75.76% รองลงมาคือจิ้งหรีดทองแดงลาย และหนอนไม้ไผ่มีค่าเท่ากับ 63.64 และ 60.61% ตามลำดับ และทำการวิเคราะห์โปรตีนด้วยวิธีของ คเจค ดาห์ล (Kjeldahl method) พบว่าหนอนไหมให้ปริมาณโปรตีนมากที่สุด มีเท่ากับ 19.19±1.00 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาคือ จิ้งหรีดทองแดงลาย และหนอนไม้ไผ่ มีปริมาณโปรตีนเท่ากับ 18.10±1.41 และ 15.20±0.95 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objectives of this research were 1) to study the quantity of edible insect shops, 2) to study behaviors of edible insect sellers, and 3) to analyze edible insect proteins. The research was conducted in the area of Muang district, Chanthaburi province. Edible insects were studied in eleven sub-districts, including Koh Khwang, Slang, Kombang, Klong Narai, Chanthanimit, Talad, Thachang, Bangkaja, Plubpla, Wat Mai and Nong Bua between July-September 2019. The result showed that Thachang sub-district had the most numbers of edible insect shops with three among 11 shops. Wat Mai, Slang, Talad, Plubpa and Nong Bua sub-districts were founded 2, 2, 1, 1, 1 and 1 shops., respectively. There were no edible insect shops available in Koh Khwang, Kombang, Klong Narai and Bangkaja sub-districts. The behaviors of edible insect sellers were observed from 11 shops by using questionnaire and depth interview. The results showed that most of the sellers were woman (63.64%), age group between 41-50 years (72.73%). The most job duration were 1-2 years (45.45%). The shops opened from 4.00 p.m. until 10.00 p.m. and it was the best time for selling edible insects (72.73% and 81.82%, respectively). The majority of edible insects were bought from middlemen who sold to retailers (45.45%). In addition, the customer group was students (63.64%). Moreover, the best-selling edible insects were the silk worm, ground cricket and the bamboo borer (75.76%, 63.64% and 60.61%, respectively). The Kjeldahl method was used for determination of protein and it was found that the silk worm had the highest protein at 19.19±1.00%, followed by ground cricket and the bamboo borer were 18.10±1.41% and 15.20±0.95%, respectively.
คำสำคัญ
ร้านจำหน่ายแมลงกินได้, พฤติกรรมการจำหน่า
Keywords
edible insect shop, seller behavior
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-01-07 17:18:36
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก