Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาระบบควบคุมกึ่งอัตโนมัติสำหรับรถนั่งผู้พิการชนิดมือบังคับการเคลื่อนที่
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Development of Semi-Automatic Control System for Wheelchair Equipment
ชื่อผู้แต่ง
อาจารย์คมสัน มุ่ยสี,อาจารย์กฤษณะ จันทสิทธิ์,อาจารย์ศรายุทธ์ จิรพัฒนากุล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2557
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ออกแบบ และพัฒนาระบบควบคุมกึ่งอัตโนมัติแบบฟัซซี่ลอจิก นำระบบควบคุมมาประยุกต์ใช้กับรถนั่งผู้พิการชนิดมือบังคับการเคลื่อนที่ ให้เป็นรถนั่งผู้พิการไฟฟ้ากึ่งอัตโนมัติ ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ผ่านก้านควบคุมซึ่งมีหน้าที่เปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้าเพื่อส่งไปประมวลผลโดยไมโครคอนโทรลเลอร์ PIC16F877A แล้วส่งสัญญาณควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์ไฟฟ้า ทำให้รถนั่งผู้พิการไฟฟ้ากึ่งอัตโนมัติสามารถเคลื่อนที่ได้ในทุกทิศทาง ที่ความเร็วต่ำสุด 5 เมตรต่อวินาที ใช้งานได้ 83 ชั่วโมง ที่ความเร็วสูงสุด 30 เมตรต่อนาที ใช้งานได้ 26 ชั่วโมง และในขณะที่แหล่งพลังงานมีไม่เพียงพอ หรือไม่สามารถใช้ระบบควบคุมกึ่งอัตโนมัติเพื่อบังคับการเคลื่อนที่ของรถนั่งผู้พิการไฟฟ้ากึ่งอัตโนมัติได้ ยังสามารถใช้มือบังคับการเคลื่อนที่ต่อไปได้ จึงเพิ่มความสะดวกในการใช้งานมากขึ้นเนื่องจากสามารถใช้ได้ทั้ง 2 ระบบคือระบบควบคุมไฟฟ้าโดยใช้ก้านควบคุม และระบบใช้มือบังคับการเคลื่อนที่
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objectives of this research were to study, design and develop the semi-automatic control system using fuzzy logic for the wheel chair. The control system was applied for developing the manual movement wheel chair to be a semi-automatic vehicle. The user could control the movement of wheel chair via joystick which used for changing the electromotive force and transferring signal to process by micro-controller PIC16F877A. The signal was sent to control the rotational speed of electric motor that led to the movement of semi-automatic wheel chair in every direction. The semi-automatic wheel chair could be used at the lowest speed (5 m/s) for 83 h and the high speed (30 m/s) for 26 h. In case of the energy source is not enough or the semi-automatic control system cannot be used, the wheel chair can be moved continually by the manual control. The developed semi-automatic wheel chair is more convenient for users because they can utilize the wheel chair by using two modes, joystick and manual control.
คำสำคัญ
ระบบควบคุมกึ่งอัตโนมัติ
Keywords
Semi-Automatic Control System
เพิ่มข้อมูลโดย
เจียมจิต บวชไธสง
แก้ไขล่าสุด
2020-03-24 13:30:52
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก