ระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ { RBRU E-Research }

รายการข้อมูลงานวิจัย

รายการข้อมูลงานวิจัย

การศึกษาแนวทางในการออกแบบฐานรากที่ตั้งอยู่บนดินลูกรังในจังหวัดจันทบุรี
Study of Foundation Design on Lateritic Soils in Chanthaburi
สินาด โกศลานันท์, ชัยศาสตร์ สกุลศักดิ์ศรี และ ไชยพัฒน์ ทวีทรัพย์พิทักษ์
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
งานวิจัย
2559
ในการศึกษาแนวทางในการออกแบบฐานรากที่ตั้งอยู่บนดินลูกรังในจังหวัดจันทบุรี ได้ทดสอบตัวอย่างดินลูกรังที่ถูกเลือกจากพื้นที่เชิงเขา 11 แห่งในจังหวัดจันทบุรี ซึ่งถูกจัดตามระบบเอกภาพอยู่ในกลุ่ม CL ML MH SC และ SM และ ถูกจัดในระบบ AASHTO อยู่ในกลุ่ม A-6 A-7-5 และ A-7-6 มีความหนาแน่นตามธรรมชาติระหว่าง 1.44-1.78 t/m3 ความชื้นอยู่ระหว่าง 8.2%-20.2% ค่าขีดจากัดเหลวอยู่ระหว่าง 20.8%-64.8% ค่าขีดจากัดพลาสติกอยู่ระหว่าง 14.3%-35.5% ดินลูกรังบดอัดมีความหนาแน่นแห้งสูงสุดอยู่ระหว่าง 1.41- 1.91 t/m3 และ ความชื้นที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 13.6%-26.0% สาหรับการบดอัดแบบมาตรฐาน และ ความหนาแน่นแห้งสูงสุดอยู่ระหว่าง 1.76- 2.07 t/m3 และ ความชื้นที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 9.9%-17.3% สาหรับการบดอัดแบบสูงกว่ามาตรฐาน มุมความเสียดทานอยู่ในช่วง 22.0 – 38.0 องศา และมีความเชื่อมแน่นอยู่ในช่วง 1.0 - 3.0 t/m2 มีค่าซีบีอาร์ อยู่ระหว่าง 1-47 เปอร์เซนต์ ดินลูกรังทุกแห่งมีส่วนละเอียดมากกว่า 20% ทาให้ไม่สามารถใช้เป็นวัสดุพื้นทาง หรือ รองพื้นทาง ค่าจานวนการตอกแบบมาตรฐานส่วนใหญ่ อยู่ระหว่าง 7-19 ครั้ง/ฟุต และมีค่ากาลังแบกทานที่ทดสอบในสนาม อยู่ระหว่าง 70-150 t/m2 ในการเปรียบเทียบกาลังแบกทานแบบต่างๆ พบว่า กาลังแบกทานในสนามมีค่าสูงสุด กาลังแบกทานที่ได้จากการคานวณโดยใช้พารามิเตอร์ความเชื่อมแน่น และมุมเสียดทานมีค่ารองลงมา และกาลังแบกทานที่ได้จากการคานวณความสัมพันธ์ของจานวนการตอกแบบมาตรฐานให้ค่าต่าที่สุด สมการความสัมพันธ์ระหว่างกาลังแบกทานในสนามและจานวนการตอกแบบมาตรฐาน มีค่าเฉลี่ยตามสมการ qu = 8.88N t/m2
In the study of foundation design on lateritic soils in Chanthaburi, the lateritic soil samples were selected from 11 locations in Chanthaburi, classified in Unified Soil Classification System in groups of CL, ML, MH, SC and SM; in ASSHTO System in groups of A-6, A-7-5 and A-7-6. These soil samples had total unit weight ranging from 1.44 to 1.78 t/m3, water content between 8.2% and 20.2%, liquid limit of 20.8% to 64.8% and plastic limit of 14.3% to 35.5%. The soils had maximum dry density of 1.41 to 1.91 t/m3 with optimum moisture content of 13.6%-26.0% and maximum dry density of 1.76 to 2.07 t/m3 with optimum moisture content of 9.9%-17.3% for standard and modified Proctor compaction tests, respectively. The direct shear test results yielded friction angle varied from 22.0 to 38.0 degree with cohesion of 1.0 to 3.0 t/m2. The CBR values of the soil were 1% to 47%. All soil samples had clay and silt size portions more than 20% indicating that these soils could not be used as subbase or subgrade. For the in-situ tests, the standard penetration values were between 7 and 19 blows/ft with ultimate bearing capacity from plate bearing test of 70 to 150 t/m2. In comparison of ultimate bearing capacity from various methods, the results from the in-situ test showed the highest values, then from direct shear test and from the relationships of standard penetration test, respectively. Correlation between average ultimate bearing capacity and standard penetration test could be expressed as qu = 8.88N t/m2.
ฐานราก, ดินลูกรัง, จันทบุรี
foundation, laterlitic soils, Chanthaburi
ณัฐฐานี ดีซื่อ แก้ไขล่าสุด 2020-10-01 11:23:55