Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ผลกระทบของน้ำยางข้นต่อกำลังอัดและการซึมผ่านน้ำของคอนกรีตกำลังสูง
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Effect of para rubber latex on compressive strength and water permeability of high strength concrete
ชื่อผู้แต่ง
จักรพันธุ์ วงษ์พา , สินาด โกศลานันท์ และ ไพลิน ทองสนิทกาญจน์
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2563
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากำลังอัด โมดูลัสยืดหยุ่น และการซึมของน้ำผ่านคอนกรีตที่ผสมน้ำยางข้นชนิดแอมโมเนียต่ำ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการนำไปต่อยอดเพื่อพัฒนางานในด้านคอนกรีตให้มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ ตัวอย่างคอนกรีตในงานวิจัยนี้มีกำลังอัดออกแบบเท่ากับ 450 กก/ตร.ซม. โดยมีการแทนที่น้ำบางส่วนในส่วนผสมคอนกรีตด้วยน้ำยางข้นในอัตราส่วนร้อยละ 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 โดยน้ำหนักของน้ำ คอนกรีตแต่ละส่วนผสมจะทดสอบค่าการยุบตัว กำลังอัด โมดูลัสยืดหยุ่น และการซึมผ่านของน้ำในคอนกรีต โดยการทดสอบกำลังอัดและโมดูลัสยืดหยุ่นใช้ตัวอย่างรูปทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 เซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตร ที่อายุ 3, 7, 14 และ 28 วัน ตามลำดับ ส่วนการทดสอบการซึมผ่านของน้ำใช้ตัวอย่างทดสอบขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 เซนติเมตร สูง 4 เซนติเมตร ที่อายุ 28 วัน จากการทดสอบพบว่าการเพิ่มปริมาณน้ำยางข้นในส่วนผสมส่งผลให้ความสามารถในการทำงานได้ของคอนกรีตลดลง ต้องใช้สารลดน้ำพิเศษเพิ่มเพื่อให้ได้ค่าการยุบตัวที่ต้องการ ส่วนกำลังอัดที่อายุ 28 วัน ของคอนกรีตกำลังสูงที่มีปริมาณน้ำยางข้นร้อยละ 0.5, 1.0 และ 1.5 โดยน้ำหนักของน้ำ มีค่าสูงกว่าคอนกรีตควบคุมเล็กน้อย ส่วนการแทนที่ร้อยละ 2.0 จะให้กำลังอัดต่ำกว่าคอนกรีตควบคุม ที่อายุ 28 วันอย่างชัดเจน ส่วนค่าโมดูลัสยืดหยุ่นมีลักษณะแปรผันตรงกับกำลังอัดทุกส่วนผสม และความสัมพันธ์ดังกล่าวของคอนกรีตผสมน้ำยางข้นมีลักษณะใกล้เคียงกับคอนกรีตควบคุม ในส่วนของค่าการซึมน้ำผ่านคอนกรีตพบว่าคอนกรีตผสมน้ำยางข้นเกือบทุกส่วนผสมมีค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านต่ำกว่าคอนกรีตควบคุม โดยเฉพาะคอนกรีตที่มีน้ำยางข้นร้อยละ 1.5 โดยน้ำหนักของน้ำ ซึ่งมีค่าการซึมน้ำผ่านคอนกรีตดังกล่าวต่ำกว่าคอนกรีตควบคุมถึง 3 เท่า จึงสามารถสรุปได้ว่าน้ำยางข้นในปริมาณที่เหมาะสมสามารถใช้ในงานคอนกรีตกำลังสูงได้ดีในด้านการเพิ่มความทึบน้ำให้กับคอนกรีต
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objective of this research was to study of compressive strength, modulus of elasticity, and water permeability of concrete containing low ammonia content of para rubber latex. The study could be used as a guideline for further developing of concrete work in some special aspects. The design strength of concrete samples for this research was 450 ksc. Some amount of water in concrete mixtures would be replaced by para rubber latex at the percentage of 0.5, 1.0, 1.5 and 2.0 by weight of water for those mixtures. Each mixture was tested for slump, compressive strength, modulus of elasticity, and water permeability. The compressive strength and modulus of elasticity were observed by using concrete sample having 10 cm of diameter and 20 cm of height at the ages of 3, 7, 14 and 28 days, respectively. The water permeability was investigated using of sample with 10 cm of diameter and 4 cm of height at the age of 28 days. The results showed that the increasing of para rubber latex resulted in decreasing of slump value of fresh concrete. Superplasticizer was needed to obtain the required slump of fresh concrete. Compressive strength at the age of 28 days of high strength concrete containing 0.5, 1.0, and 1.5 percent of para rubber latex showed a little higher than the control concrete while 2.0 replacement gave a lower compressive strength than the control concrete, dramatically. Modulus of elasticity varied directly to compressive strength for all mixtures. In addition, that relation of latex-concrete was similar to the control one. For water permeability result, it was found that almost all mixtures of latex-concrete had a lower water permeability coefficient than the control concrete, especially, 1.5 percent replacement of latex which had about 3 times lower than the control concrete. It could be concluded that a proper amount of the para rubber latex could be used well in high strength concrete work for increasing impervious aspect of concrete.
คำสำคัญ
คอนกรีตกำลังสูง, น้ำยางข้น, กำลังอัด, โมดูลัสยืดหยุ่น, การซึมผ่านของน้ำ
Keywords
High strength concrete, Para rubber latex, Compressive strength, Modulus of Elasticity, Water permeability
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-04-26 13:24:02
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก