Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตในการผลิตยาสมุนไพรรักษาโรค
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Process Improvement and Productivity Improvement in Herbal Medicine Production
ชื่อผู้แต่ง
เบญจมาศ เนติวรรักษา , พอพันธ์ สุทธิวัฒนะ , อนุรักษ์ รอดบำรุง , วิทวัส สิงห์สังข์ และ กานต์ นัครวรายุทธ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2563
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตยาสมุนไพรรักษาโรคสะเก็ดเงิน โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมอุตสาหการ คือ แผนผังสาเหตุและผล การศึกษางาน และการจับเวลา เพื่อเพิ่มผลผลิต และลดปริมาณของเสีย ลดเวลาและปริมาณคนในการทำงาน จากการศึกษาพบว่าเวลาการทำงานของกระบวนการคั้นกากสมุนไพรก่อนปรับปรุง คือ 204.86 นาทีต่อถัง เมื่อวิเคราะห์ผลด้วยแผนผังสาเหตุและผลพบว่าปัญหาที่ทำให้กระบวนการคั้นกากสมุนไพรล่าช้า เกิดจากการขาดเครื่องมือช่วยในการทำงาน ดังนั้นจึงปรับปรุงกระบวนการคั้นกากสมุนไพรโดยใช้เครื่องคั้น พบว่าใช้เวลาเฉลี่ยในการทำงาน 115.85 นาทีต่อถัง ซึ่งลดระยะเวลาในการทำงานได้ถึงร้อยละ 43.45 และเพิ่มปริมาณผลผลิตจาก 714 ขวดต่อถัง เป็น 880 ขวดต่อถัง คิดเป็นร้อยละ 12.04 นอกจากนี้การใช้เครื่องคั้นยังช่วยลดจำนวนแรงงานในกระบวนการผลิตได้ 1 คน
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Process improvement and productivity improvement in herbal medicine production by implement industrial engineering technique including cause and effect diagram, work study and time study to increase productivity, reduce waste, reduce time and reduce people in the production process. The preliminary data has been collected. The current processing time of herbal medicine production took 204.86 minutes per tank. The analysis of cause and effect diagram present that the problems of this study process were labor time consuming and lack of supporting equipment. Therefore, the process improvement by using a juicer the result showed that the processing time took only 115.85 minutes per tank which reduced the working time by 43.45% and increased the productivity from 714 bottles per drum to 880 bottles per drum, representing 12.04 percent. Reduce the number of labor in the production process for 1 person. which reduced the working time by 43.45% and increased the productivity from 714 bottles per drum to 880 bottles per drum, representing 12.04 percent. Reduce the number of labor in the production process for 1 person.
คำสำคัญ
แผนผังก้างปลา, เทคนิคการปรับปรุงงาน, การศึกษางาน, การจับเวลา
Keywords
Cause and effect diagram, Work Improvement Techniques, Work Study, Time Study
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-10-01 13:37:21
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก