Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาเทคนิคการแปรรูปเศษพลอยทัวร์มาลีนเหลือทิ้งจากกระบวนการเจียระไนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยกระบวนการออกแบบ
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Technique Development of Tourmaline Scraps Processing from Cutting and Polishing Process to Create Added Value Via the Design Process
ชื่อผู้แต่ง
ภัทรา ศรีสุโข, วรฉัตร อังคะหิรัญ, ภัทรบดี พิมพ์กิ, นฤมล เลิศคำฟู, กิตติรัตน์ รุ่งรัตนาอุบล และสุรพงษ์ ปัญญาทา
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2564
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางการแปรรูปเศษพลอยทัวร์มาลีนเหลือทิ้งจากกระบวนการเจียระไน จากนั้นนำมาออกแบบและพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด จากการศึกษาสามารถแบ่งกลุ่มเศษพลอยทัวร์มาลีนเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มแรกเศษพลอยกลุ่มคัดพลอย คือ เศษพลอยทัวร์มาลีนที่ซื้อมาแล้วถูกคัดออก เนื่องจากสีไม่สวย มีขนาดเล็กเกินไป มีรอยแตกภายในมากไม่สามารถเจียระไน ได้แก่ เศษพลอยทัวร์มาลีนแท่งตามรูปทรงของผลึกทัวร์มาลีน และเศษพลอยทัวร์มาลีนขนาดเล็กมีรอยแตกภายในมาก มีลักษณะเป็นเม็ดกลมเล็กขนาดไม่แตกต่างกันมาก แต่มีสีที่สดสวยงามกว่ากลุ่มอื่นและมีความแวววาว กลุ่มที่สองเศษพลอยกลุ่มตัดแต่งทรง คือ เศษพลอยที่เหลือจากการตัดแต่งทรงพลอยมีตำหนิและรอยแตกมากไม่มีความแวววาว มีหน้าเรียบที่เกิดจากรอยตัดแต่งเศษพลอยมีลักษณะเป็นแผ่นมีทั้งแบนหรือหนา มีหลากหลายขนาดทั้งชิ้นเล็กและใหญ่ ผลการหาแนวทางการแปรรูปเศษพลอยทัวร์มาลีนเหลือทิ้งได้ดังนี้ เศษพลอยแท่งตามรูปทรงของผลึกทัวร์มาลีน ทำการแปรรูปเศษพลอยแท่งตามรูปทรงของผลึกทัวร์มาลีน ทำให้เงาขึ้นด้วยผงเพชรและตัดเป็นแท่งตามที่ต้องการ เศษพลอยทัวร์มาลีนขนาดเล็กมีรอยแตกภายในมากทำการแปรรูปเศษพลอยขนาดเล็กแต่ยังมีสีที่สวยใช้เทคนิคหล่อเศษพลอยกับ อิพ็อกซีเรซิ่น และการแปรรูปเศษพลอยทัวร์มาลีนที่เหลือจากการตัดแต่งทรงพลอยมีลักษณะ แบนเรียบมีลักษณะเหมาะแก่การทำงานโมเสก โดยใช้ดินโพลิเมอร์เคลย์เป็นตัวประสานระหว่างตัวเรือนกับเศษพลอยและเคลือบเงาด้วยยูวีเรซิ่น ช่วยเพิ่มความเงาแล้วยังช่วยให้ชิ้นงานเศษพลอยไม่หลุดง่าย จากนั้นนำผลการแปรรูปเศษพลอยทัวร์มาลีน จากการศึกษาทิศทางเครื่องประดับปี พ.ศ. 2565 และผลสำรวจความต้องการของผู้บริโภค เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบเป็นต้นแบบเครื่องประดับร่วมกับผู้ประกอบการ และคัดเลือกแบบร่างโดยผู้เชี่ยวชาญแบบร่างที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ ชื่อผลงาน Sparkle log มีแนวคิดในการออกแบบเครื่องประดับแหวนที่จะสื่อถึงจิตวิญญาณที่เป็นธรรมชาติ ความงามตามธรรมชาติ ดังนั้น จึงนำเศษพลอยทัวร์มาลีนรูปแท่งผลึกตามธรรมชาติมาออกแบบโดยได้ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุด 4.47 เพื่อนำไปผลิตเป็นต้นแบบเครื่องประดับ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
คำสำคัญ
การออกแบบ, เครื่องประดับ, เศษพลอยทัวร์มาลีน
Keywords
Design, Jewelry, Tourmaline scraps
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2022-08-19 15:55:16
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย