Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การรีไซเคิลน้ำมันปาล์มเหลือใช้จากการแปรรูปผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนคลองน้ำเค็มทันใจสำหรับผลิตสารซักล้าง
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Recycling of Waste Cooking Palm Oil from the Product Processing of Khlong Nam Khem Tanjai Community Enterprise for Producing Detergent
ชื่อผู้แต่ง
เบญจมาศ เนติวรรักษา, พอพันธ์ สุทธิวัฒนะ, อนุรักษ์ รอดบำรุง, วิทวัส สิงห์สังข์ และ กานต์ นัครวรายุทธ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2564
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การศึกษาการรีไซเคิลน้ำมันปาล์มเหลือใช้จากการแปรรูปผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชน คลองน้ำเค็มทันใจสำหรับการผลิตสารซักล้าง มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบกระบวนการและหาสภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมสารซักล้างจากน้ำมันปาล์มใช้แล้ว และเปรียบเทียบประสิทธิภาพและคุณสมบัติของน้ำยาซักล้างกับมาตรฐานอุตสาหกรรม โดยทดลองผลิตสารซักล้าง 2 ชนิด คือ สบู่และน้ำยาล้างจาน พบว่าเมื่อนำน้ำมันปาล์มเหลือทิ้งจากกระบวนการแปรรูปอาหารปูอบโอ่งมาทำเป็นสบู่ซักล้างโดยใช้หัวหอมใหญ่ที่เป็นเป็นตัวกรองธรรมชาติในการกรองสิ่งสกปรกและดูดซับกลิ่นของปูที่ติดอยู่ในน้ำมัน แล้วพบว่าสบู่ที่ผ่านการกรองโดยหัวหอมใหญ่จะมีเนื้อสบู่ค่อนข้างนิ่มและเหนียว ไม่แข็งมาก ไม่มีสิ่งแปลกปลอม มีความเป็นเนื้อเดียวกัน นอกจากนี้ ยังไม่มีกลิ่นที่ ไม่พึงประสงค์ เช่น กลิ่นเหม็นหืน และสบู่ก็เป็นก้อนสีก็ขาวสวย และมีลักษณะทางกายภาพผ่านค่ามาตรฐานอุตสาหกรรม ต่างจากการทำน้ำยาล้างจานพบว่าเติมน้ำมันปาล์มเหลือใช้ในปริมาณสูงสุดได้ 50 มิลลิลิตร ถ้ามากกว่านี้น้ำยาล้างจานจะถึงจุดอิ่มตัวทำให้คืนสภาพจากของเหลวหนืดเป็นน้ำและเกิดการแยกชั้นของน้ำยาล้างจาน ซึ่งยังต้องมีการแก้ไขปรับปรุงสูตรในการผลิตให้ดีขึ้น เพื่อให้ผ่านมาตรฐานอุตสาหกรรมทางกายภาพและนำไปสู่กระบวนการทดสอบมาตรฐานทางเคมีต่อไป
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
A study on recycling of waste cooking palm oil from the product processing of Khlong Nam Khem Tanjai Community Enterprise for producing detergent. The objective of the study was to design processes and optimal conditions for the preparation of detergents from waste cooking palm oil, and compare the efficiency and properties of detergents with industry standards. The experiment was conducted to produce 2 types of detergent, namely soap and dishwashing liquid. It was found that when the waste cooking palm oil from food processing was turned into laundry soap, onion was used as a natural filter to filter impurities and absorb odors trapped in the oil. It was found that the soap passed filtered by onions will had a rather soft and sticky soapy texture with a homogeneous consistency; There was no foreign matter. In addition, the soap did not have any unpleasant odors such as rancid smell, and the color was white and beautiful. The Physical characteristics passed the industry standard, which was different from making dishwashing liquid. It was found that the maximum amount of leftover palm oil could be filled 50 ml. For more than this, quantity the dishwashing liquid reached its saturation point, causing it to recover from the viscous liquid to water and the separation of the dishwashing liquid. It was necessary to modify dishwashing liquid to improve the production formula for the physical standards, and lead to the chemical standard testing process.
คำสำคัญ
การรีไซเคิล, น้ำมันปาล์มเหลือใช้, สารซักล้าง
Keywords
Recycle, Waste Cooking Palm Oil, Detergent
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2023-10-27 11:17:27
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก