Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครู ของโรงเรียนขนาดเล็ก ในพื้นที่ชายแดนจังหวัดจันทบุรีและตราด
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Development of Multimedia learning modules for Solving Teacher Shortage Problem in Small Schools in Border Areas of Chanthaburi and Trat Provinces
ชื่อผู้แต่ง
ภูวดล บัวบางพลู, เจนจบ สุขแสงประสิทธิ์, พงษ์นที ศิลาอาศน์, สุรัตน์ จานทอง, นพเดช อยู่พร้อม และ ปรียาภรณ์ ศิริไสยาสน์
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2563
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 เท่ากับ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้สื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย โดยเลือกประชากรด้วยวิธีเจาะจง เนื่องจากเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก และพบปัญหาขาดแคลนครู ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จาก 5 โรงเรียน จำนวน 81 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.87/81.83 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 5.27 คะแนน และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 11.46 คะแนน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ 3) ความพึงพอใจที่มีต่อสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านเนื้อหาและการนำเสนอ ด้านการออกแบบ ด้านประโยชน์ที่ได้รับ และด้านภาพรวมของบทเรียนมัลติมีเดีย ทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมากทั้งหมด
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purposes of the research were 1) to develop and find the efficiency of multimedia for learning with the efficiency criterion of E1/E2 = 80/80, 2) to compare students’ learning achievement before and after using multimedia for learning, and 3) to study the students satisfaction on multimedia learning. The sample was a group of 81 Prathomsuksa 4 students from five small schools that have a teacher shortage problem The Sample was selected using purposive sampling. The results of this research were as follows: 1) the efficiency of multimedia for learning the subject of computing science for Prathomsuksa 4 had the efficiency at 81.87/81.83 which was higher than the criterion of 80/80, 2) the students’ learning achievement using multimedia for learning the subject of computing science for Prathomsuksa 4 after learning achievement was higher than before learning at the statistically significant level of .05, and 3) the overall satisfaction of Prathomsuksa 4 students with multimedia for learning the subject of computing science, including content, presentation, design, benefit, and overall was at a high level.
คำสำคัญ
สื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย, โรงเรียนขนาดเล็ก, วิทยาการคำนวณ
Keywords
multimedia for learning, small school, computing science
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-04-26 13:56:06
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย