Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักศึกษาวิชาชีพครูในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Learning organization to develop skill to integrate local wisdom of teacher profession students in the preparation to the ASEAN community
ชื่อผู้แต่ง
อาจารย์วราลี ถนอมชาติ,อาจารย์ ดร.หฤทัย อนุสสรราชกิจ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2557
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักศึกษาวิชาชีพครูในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ผู้เข้าร่วมวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักศึกษาวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จำนวน 37 คน การดำเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบมีการแทรกแซง ประกอบด้วย 2 ระยะ คือ 1) การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ และ 2) การสรุป นำเสนอและถ่ายทอดผลการวิจัย ผลการวิจัย มีดังนี้ 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นใช้ทฤษฎี การเรียนรู้ 9 ขั้นตอนของกาเย่ โดยมุ่งเน้นให้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรมผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งรอบตัว ซึ่งประกอบด้วย 9 ขั้นตอน ดังนี้ 1) เร่งเร้าความสนใจ 2) บอกวัตถุประสงค์ 3) ทบทวน ความรู้เดิม 4) นำเสนอเนื้อหาใหม่ 5) ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ 6) กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน 7) ให้ข้อมูลย้อนกลับ 8) ทดสอบความรู้ใหม่ และ 9) สรุปและนำไปใช้ 2. ผลการพัฒนาทักษะการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักศึกษาวิชาชีพครู สะท้อนใน 3 ด้าน คือ 1) ด้านความรู้ คือ มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น 2) ด้านทักษะและความสามารถในการนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ คือ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการประกอบวิชาชีพครูต่อไป และ 3) ด้านเจตคติและความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้ คือ ภูมิใจ รัก และอยากจะเผยแพร่ให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The research was to develop skills to integrate local wisdom of teacher profession students in the preparation to the ASEAN community. The research participants were thirty-seven teacher profession students in faculty of education, Rambhaibarni Rajabhat University. This study was a qualitative research with intervention. The research consisted of two steps : 1) development of the learning process and 2) the conclusion of the research findings. The finding were as follows : 1) Learning process to develop skills to integrate local wisdom, using the theory of Gagne, focus to learn from activities through interaction with the surroundings, consisted of nine steps : 1) Gain Attention 2) Specify Objective 3) Activate Prior knowledge 4) Present New Information 5) Guide Learning 6) Eliclt Response 7) Provide Feedback 8) Assess Performance and 9) Review and Transfer. 2) The result of developing skills to integrate local wisdom of teacher profession students reflected in three issues : 1) Cognitive domain, knowledge increase 2) Psychomotor domain, the knowledge to the benefit of the teacher occupation in the future and 3) Affective domain, proud love and want to publish future generations to learn.
คำสำคัญ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
Keywords
Local wisdom
เพิ่มข้อมูลโดย
เจียมจิต บวชไธสง
แก้ไขล่าสุด
2020-04-16 12:46:20
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก