Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
แนวทางส่งเสริมความฉลาดทางสังคมของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Guidelines for Promoting the Social Quotient of Education Students at Rambhai Barni Rajabhat University
ชื่อผู้แต่ง
อัฐฉญา แพทย์ศาสตร์ และ พัชรินทร์ รุจิรานุกูล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความฉลาดทางสังคมของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาความฉลาดทางสังคมของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาครูชั้นปีที่ 1 จำนวน 202 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดความฉลาดทางสังคม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. นักศึกษาครูมีระดับคะแนนความฉลาดทางสังคมโดยรวมอยู่ในระดับสูง 2. แนวทางการพัฒนาความฉลาดทางสังคมของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ รำไพพรรณี สรุปได้ว่า กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่า การส่งเสริมความฉลาดทางสังคมของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีนั้น ผู้ทรงคุณวุฒิส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่าควรมีการจัดกิจกรรมค่าย ชมรม หรือโครงการเพื่อศึกษาเรียนรู้สังคมจริง เน้นการตระหนักรู้ทางสังคมมีการลงพื้นที่ ไม่ยึดติดกับห้องเรียนหรือมีการสอดแทรกในรายวิชา เช่น การรับรู้ข่าวสารบ้านเมือง ทุก ๆ ด้าน เพื่อฝึกการคิด รู้จักวิเคราะห์ แยกแยะ คิดบวก หรือคิดอย่างสร้างสรรค์ ทำความเข้าใจถึงสถานการณ์ต่าง ๆ ในสังคมเพื่อการตัดสินใจแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อสถานการณ์นั้นเกิดการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่นและฝึกปฏิบัติในเรื่องของมารยาทการแสดงออกทางด้านความรู้สึกและการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น การเป็นผู้นำ การสื่อสารและรับฟังผู้อื่น
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purposes of this research were: 1) to study the social quotient of Education Students and 2) to find out the guidelines for promoting the social quotient of Education Students at Rambhai Barni Rajabhat University. The sample group was 202 first-year Education Students. The data were collected by using social quotient measures. The statistics used in the research were percentage, mean and standard deviation. The findings showed that ; 1) Education students entirely had a high level of social quotient and ; 2) the guidelines for promoting the social quotient of Education Students according to most experts’ comments could be concluded camp activities, clubs or projects to learn the real society emphasizing on social awareness by organizing activities on sites, not learning only in the classroom, or inserting into courses such as acknowledging news in every aspect to practice thinking, analyzing, identifying, positive thinking or creative thinking. Additionally trying to understand the various situations in society for making decision to behave appropriately to that situation to learn how to live with other people and practice manners in expressing feelings, building relationship, being a leader, communicating and listening to others.
คำสำคัญ
ความฉลาดทางสังคม นักศึกษาครู
Keywords
Social Quotient, Education Students
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-04-10 16:29:46
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย