Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2568
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
142
คณะครุศาสตร์
28
คณะนิติศาสตร์
37
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
91
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
31
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
69
คณะวิทยาการจัดการ
135
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
108
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
161
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การบริหารจัดการแรงงานของบุคคลพิการในสถานประกอบการ จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Management of Persons with Disabilities in the Labor Establishment in Chanthaburi.
ชื่อผู้แต่ง
กรองทอง จุลิรัชนีกร และ กาญจนา สมพื้น
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2559
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัย เรื่องการบริหารจัดการแรงงานของบุคคลพิการในสถานประกอบการจังหวัดจันทบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและแนวทางการบริหารจัดการแรงงานของบุคคลพิการในสถานประกอบการจังหวัด กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ได้แก่ สถานประกอบการจังหวัดจันทบุรี จำนวน 15 แห่ง โดยเลือกแบบเจาะจง ใช้วิธีการดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกและการจดบันทึกข้อมูล จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 38 คน ผลการศึกษาพบว่า สถานประกอบการมีการบริหารจัดการแรงงานของบุคคลพิการตามกฎหมายการจ้างงานของบุคคลพิการได้แก่ การปฏิบัติตามมาตรา 33 โดยวิธีการจ้างในตำแหน่งงาน มีจำนวน 10 แห่ง มาตรา 34 โดยวิธีการส่งเงินเข้ากองทุนคนพิการ จำนวน 1 แห่ง และมาตรา 35 โดยวิธีการให้สัมปทานจัดสถานที่จำหน่ายสินค้า จำนวน 4 แห่ง มีบุคคลพิการที่เข้ารับการจ้างงานในสถานประกอบการ จำนวน 30 คน ได้แก่ บุคคลพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย จำนวน 20 คน บุคคลพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย จำนวน 5 คน บุคคลพิการทางสติปัญญา จำนวน 3 คน และบุคคลพิการทางการเห็น จำนวน 2 คน จากการสัมภาษณ์เชิงลึก พบว่าแนวทางการบริหารจัดการแรงงานของบุคคลพิการในสถานประกอบการจังหวัดจันทบุรี มีดังนี้ 1) บุคคลพิการ มีความต้องการให้บุคลากรในองค์กร ให้ความยอมรับและเข้าใจคนพิการ การไม่เลือกปฏิบัติ มองเห็นคุณค่าและความแตกต่างระหว่างบุคคล และการส่งเสริมให้บุคคลพิการได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมขององค์กร มองเห็นคุณค่าและความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งบุคคลในองค์กรทุกคนเป็นผู้ที่มีความสำคัญ ไม่ควรมีการแบ่งแยก และเหยียดหยามในจุดด้อยของผู้อื่น 2) สถานประกอบการ ต้องการให้บุคคลพิการปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อกำหนดขององค์กร โดยเฉพาะเวลาการเข้าปฏิบัติงาน การขาดงาน การลางาน หรือการทำความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของงาน และ 3) หน่วยงานภาครัฐ ต้องการส่งเสริมให้บุคคลพิการเข้ามาติดต่อ เพื่อตรวจสอบตำแหน่งงาน และสิทธิที่ได้รับจากการจดทะเบียนคนพิการ การสร้างความเข้าใจให้กับบุคคลพิการต่อการปฏิบัติตามกฎหมายและสิทธิประโยชน์ที่บุคคลพิการพึงจะได้รับ เพื่อให้บุคคลพิการได้มีโอกาสเข้าถึงประโยชน์ต่าง ๆ ให้ได้มากที่สุด
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The research titled ‘Management of persons with disabilities in the labor establishment in Chanthaburi’ was to study the labour management condition and guideline of disabled persons in organisations in Chanthaburi province. The sample group consisted of 15 organisations located in Chanthaburi province using purposive sampling. This research was a qualitative research. All of data and information were collected and obtained through the uses of an in-depth interview and note taking with 38 key informants. The study found that the organisations. There were 10 organisations practiced in compliance with the 33th Act of Employment Laws by recruiting individuals with disability. in compliance with the 34th Act of Employment Laws by opting out making contributions to the Fund for Persons Disabilities 1 organisations in compliance with the 35th Act of Employment Laws by conducting the recruitment 4 organisations. There were 30 disabled persons employed in those organisations consisted of 20 disabilities with mobility impairment, followed by 5 with hearing and communication impairments, 3 with mental retarded and 2 with visual impairment. The results in-depth interview showed the labour management guideline : 1) disabled persons wanted to be recognized and accepted by their colleagues without any discrimination, appreciated individuals’ value and differences and encouraged to participate in the organisations’ activities based on the notion that all employees were important; there should be no discrimination and insult on other weaknesses; 2) the organisations wants the disabled persons to follow the organisations and ; 3) organzations want tto promote the disable persons to recicve the right and to register as the disable persons in order to give them the opportunity of the best advantage.
คำสำคัญ
บุคคลพิการ, การบริหารจัดการ, แรงงาน
Keywords
Disabled Persons, Management, Labour
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 13:58:37
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย