Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาการจัดการ
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การวิเคราะห์ช่องทางการตลาดของมังคุดและการขาดเสถียรภาพทางด้านมูลค่า
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Analysis of the Mangosteen’s Marketing Channels and the Instability of the Mangosteen’s Value
ชื่อผู้แต่ง
อาจารย์ฤดีวรรณ ยิ่งยง,อาจารย์ธงชัย ศรีเบญจโชติ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรีย์พร พานิชอัตรา
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาการจัดการ
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2556
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
มังคุดเป็นผลไม้ที่นิยมนํามาบริโภคกันอย่างแพร่หลายทั้งในประเทศและต่างประเทศ และยังเป็น หนึ่งในผลไม้เศรษฐกิจหลักที่ประเทศไทยเป็นผู้นําในด้านการผลิต ทําให้มังคุดเป็นหนึ่งในผลไม้ที่ประเทศไทย มีศักยภาพในการส่งออกและมีมูลค่าการส่งออกสูงเป็นอันดับ 1 ของโลก แต่เนื่องจากผลผลิตมังคุดต้องอาศัย ธรรมชาติเป็นปัจจัยหลักในการผลิต ปริมาณผลผลิตจึงเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพภูมิอากาศ จึงส่งผลให้ ปริมาณผลผลิตมังคุดไม่มีเสถียรภาพ และราคามังคุดจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุปสงค์และอุปทานของตลาด ราคาจึงเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ตลาด ราคามังคุดจึงไม่มีเสถียรภาพ เกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จึงต้องเผชิญกับปัญหาการขาดเสถียรภาพของมูลค่าผลผลิตซึ่งสะท้อนถึงทางด้านรายได้จากการผลิตมังคุด รวมไปถึงพ่อค้าในตลาดแต่ละระดับ ไม่ว่าจะเป็นตลาดขายส่ง ตลาดขายปลีก หรือตลาดส่งออก ยังต้องเผชิญ กับปัญหานี้เช่นเดียวกัน ดังนั้นในการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อ 1) ศึกษาช่องทางการตลาด ของมังคุด จากการสัมภาษณ์เกษตรกร และผู้ประกอบการ 2) ตรวจสอบระดับของการขาดเสถียรภาพของ มูลค่าผลผลิตมังคุดในตลาดระดับต่างๆ และ 3) วิเคราะห์สาเหตุของการขาดเสถียรภาพของมูลค่ามังคุดใน ตลาดระดับต่างๆ ว่าเกิดขึ้นจากการผันแปรทางด้านอุปสงค์ หรือทางด้านอุปทาน โดยคํานวณหาดัชนีการ ขาดเสถียรภาพ(Instability index) จากวิธี Normalized Standard Deviation of Residual from Trend และหาค่าสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด(R2) ที่ได้จากการประมาณค่าสมการความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่ากับราคา และมูลค่ากับปริมาณผลผลิต ในตลาดระดับต่างๆ เพื่อวิเคราะห์สาเหตุการขาดเสถียรภาพของมังคุดในตลาด ระดับต่างๆ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Mangosteen is widely consumed by both domestic and international markets. It is one of the major economic fruits which Thailand is the leader of the production. Hence, Thailand is able to export this fruit and is recognized as the leader of mangosteen exporting of the world. However, mangosteen production is mainly relied on natural climate which influences the stability of the fruit quantity. Together, mangosteen’s price varies related to demand and supply of the market. Since, the fruit price is related to the product quantity in the market, the price is thus instability. The phenomena influence the instability of mangosteen’s value. The situation causes negative effects of income stability for mangosteen farmers and every level of markets such as wholesalers, retailers, and exporters. Therefore, this research aims to (1) study marketing channals of mangosteen by interviewing farmers and marketing intermediaries. (2) determine the level of instability of mangosteen’s value in each market level and (3) analysis cause of instability of mangosteen’s value in each market level that whether it is related to demand or supply. The calculation for instability index from Normalized Standard Deviation of Residual from Trend is applied. Coefficient determination (R2) from the estimation of equation between value and price along with value and product quantity in each market level is adopted for the cause analysis of mangosteen instability in each market level.
คำสำคัญ
ช่องทางการตลาด, มังคุด
Keywords
Marketing Channels, Mangosteen
เพิ่มข้อมูลโดย
เจียมจิต บวชไธสง
แก้ไขล่าสุด
2020-02-27 14:35:41
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก