Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การวิเคราะห์ระบบการขนส่งผลไม้จากจันทบุรีสู่การค้าชายแดนกัมพูชา
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
An Analysis of Fruit Transportation from Chathaburi Province to Cambodia Border Trade
ชื่อผู้แต่ง
นางสาวกฤติยา เกิดผล, นางสาวปรัชภรณ์ เศรษฐเสถียร, นางสาวไพลิน ทองสนิทกาญจน์
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2559
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเส้นทางการขนส่งผลไม้จากจังหวัดจันทบุรีไปสู่การค้าชายแดนกัมพูชาและวิเคราะห์เส้นทางรวมถึงจุดผ่านแดนในการขนส่งผลไม้ไปชายแดนกัมพูชาเพื่อเลือกเส้นทางที่เหมาะสมในการขนส่งมากที่สุด โดยเริ่มจากศึกษาเส้นทางการขนส่งผลไม้จากจันทบุรีไปยังด่านชายแดนกัมพูชา และศึกษาข้อมูลของจุดผ่านแดน จากนั้นกำหนดปัจจัยในการประเมินเส้นทางการขนส่งและทำการวิเคราะห์เลือกเส้นทางในการขนส่งผลไม้ที่เหมาะสมมากที่สุด ซึ่งจังหวัดจันทบุรีมีจุดผ่านแดนทั้งหมด 5 จุด ได้แก่ จุดผ่านแดนถาวรบ้านผักกาด จุดผ่านแดนถาวรบ้านแหลม จุดผ่อนปรนบ้านบึงชนังล่าง จุดผ่อนปรนบ้านสวนส้ม และจุดผ่อนปรนบ้านซับตารีซึ่งในแต่ละเส้นทางไปจุดผ่านแดนจะมีระยะทางและเวลาในการเดินทางที่แตกต่างกัน จึงได้ประเมินเส้นทางการขนส่งตามปัจจัยในการประเมินทั้ง 9 ปัจจัย ได้แก่ จำนวน ทางจราจรต่อทิศทาง ความกว้างของผิวจราจร ความกว้างของไหล่ทาง วัสดุผิวจราจร ความคดเคี้ยว ลาดชันของถนน การเสื่อมสภาพความเสียหายของผิวจราจร อันตรายในเส้นทาง ความสามารถในการเชื่อมต่อกับการขนส่งรูปแบบอื่นๆ และความสามารถในการเชื่อมต่อกับต่างประเทศ จากการวิเคราะห์และประเมินเส้นทางการขนส่งพบว่าจุดผ่านแดนที่มีความเหมาะสมที่จะขนส่งผลไม้ไปสู่ประเทศกัมพูชามากที่สุด คือ ด่านถาวรบ้านแหลมมีคะแนนรวม 36 คะแนน และด่านถาวรบ้านผักกาดมีคะแนนรวม 32 คะแนน ซึ่งจุดผ่านแดนดังกล่าวเป็นจุดผ่านแดนถาวร นอกจากนี้ยังมีจุดผ่อนปรนที่มีคะแนนใกล้เคียงกับจุดผ่านแดนถาวร คือจุดผ่อนปรนบ้านซับตารีมีคะแนนรวม 30 คะแนน ซึ่งจุดผ่อนปรนนี้สามารถพัฒนาให้เป็นจุดผ่านแดนถาวรได้ในอนาคต
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purposes of this study were to explore the fruit export routes from Chanthaburi to Cambodia border Trade and to analyses the routes and the border crossing points in order to find the most suitable routes for exporting fruits. This study begun with the exploration of export routes from Chanthaburi to Cambodia Border Trade and obtaining the information of border crossing requirements. Routes evaluation factors were identified and the analysis on finding best routes to export fruits were conducted. The study has revealed that there are 5 crossing points in Chanthaburi: 1) Ban Pakkad permanent border crossing point 2) Ban Laem permanent border crossing point 3) Ban BuengChanang Lang 4) Ban Suansom check point 5) Ban Sabtaree check point. The distance to each border crossing points varies; therefore, nine factors were used to evaluate the export routes to find the most suitable one. The nine factors include number, traffic condition, lane width, road surface, road curviness, road grade, damaged road surface, and dangerous points of the road. The capability to connect with other mode of transportation and the capability to pass through border crossing were considered to find the best export routes. As a result, Ban Laem permanent border crossing point scored 36 and Ban Pakkad permanent border crossing point scored 32; therefore, both border crossing points were the most suitable export routes. Ban Sabtaree check point scored 30 which was the highest compare to other check points so this could be a potential permanent border crossing point in the future.
คำสำคัญ
ระบบการขนส่ง, การค้าชายแดน
Keywords
Transportation, Border Trade
เพิ่มข้อมูลโดย
เจียมจิต บวชไธสง
แก้ไขล่าสุด
2020-02-27 10:40:44
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก