Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การศึกษาผลของการใช้นวัตกรรมการสอน “PPP P Two-way communication Model” เพื่อพัฒนาทักษะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The study of the Effect of Using Learning innovation “PPP P Two-way communication Model” for enhance Thai Qualifications Framework for Higher Education (TQF) of Undergraduate students’ Skills at Rambhai Barni Rajabhat University.
ชื่อผู้แต่ง
ชวนพบ เอี่ยวสานุรักษ์ และคณะ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้ประกอบด้วยวัตถุประสงค์การวิจัย 4 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาผลของการใช้นวัตกรรมการสอน “PPP P Two-way communication Model” ที่มีต่อพัฒนาทักษะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญาด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยนวัตกรรมการสอน “PPP P Two-way communication Model” 3) เพื่อเปรียบเทียบทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาหลังเรียนด้วยนวัตกรรมการสอนฯ กับเกณฑ์มาตรฐาน และ 4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อนวัตกรรมการสอน “PPP P Two-way communication Model” ระเบียบวิธีการวิจัยเป็นชนิดกึ่งทดลอง เครื่องมือวิจัย คือ 1. นวัตกรรมการสอนฯ 2. แผนการจัดการเรียนรู้ 3. แบบทดสอบ 4. แบบประเมิน และ 5. แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ประกอบด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบคะแนนกับเกณฑ์ และสถิติเปรียบเทียบ t-test สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1)นวัตกรรมการสอน “PPP P Two-way communication Model” สามารถพัฒนาทักษะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีได้ใน 2 ด้าน คือ ด้านทักษะทางปัญญา และด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2)หลังเรียนด้วยนวัตกรรมการสอน “PPP P Two-way communication Model” นักศึกษามีทักษะทางปัญญาสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3)หลังเรียนด้วยนวัตกรรมการสอน “PPP P Two-way communication Model” นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 4)นักศึกษามีความคิดเห็นต่อนวัตกรรมการสอน “PPP P Two-way communication Model” อยู่ในระดับดี
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purposed of this study were; 1) to experiment the innovative teaching effect of using innovative teaching “PPP P Two-way communication Model” for enhance Thai Qualifications Framework for Higher Education (TQF) of undergraduate students’ skills at Rambhai Barni Rajabhat University; 2) to compared the ethics and moral skills, knowledge skills, cognitive skills and interpersonal skills and responsibility skills between pre and post experiment; 3) To compared the information technology skills of undergraduate students with standard; 4) to study students’ satisfaction on innovative teaching. Research methodology was quasi experiment. Research tools consisted of 1. Innovative teaching, 2. Lesson plan, 3. Achievement test and 4. Question of satisfaction. Quantitative data were analyzed by using Percentage, Mean, Standard deviation, compare with standard score and t-test. Qualitative data was analyzed by content analysis method. The results were finding as follows: 1)The innovative teaching “PPP P Two-way communication Model” can be enhance Thai Qualifications Framework for Higher Education (TQF) of undergraduate students’ skills in two aspects: 1) Cognitive skills and 2) Information technology skills. 2)Students’ cognitive skills after learning with innovative teaching “PPP P Two-way communication model” was improve at significant levels. 3)Innovative teaching “PPP P Two-way communication model” can be enhance students’ information technology skills more than standard after the experiment. 4)Most students were satisfied with innovative teaching.
คำสำคัญ
นวัตกรรมการสอน, ทักษะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
Keywords
Innovative teaching / Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-03-27 10:39:35
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก