Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาการจัดการ
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
แนวทางองค์กรแห่งความสุขเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านบางกะจะ จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Happy Workplace Guidelines for Tourism Development of Ban Bang Kacha Community in Chanthaburi Province
ชื่อผู้แต่ง
นิศารัตน์ แสงแข , นภดล แสงแข และ สิทธิชัย ศรีเจริญประมง
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาการจัดการ
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การศึกษาเรื่อง แนวทางองค์กรแห่งความสุขเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านบางกะจะ จังหวัดจันทบุรี มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการจัดการองค์กรแห่งความสุขเพื่อการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านบางกะจะ 2) เพื่อวัดความสุขของชาวบ้านในชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านบางกะจะ และ 3) เพื่อเสนอแนวทางองค์กรแห่งความสุขเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านบางกะจะ เป็นการศึกษาแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ด้วยระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) จากการสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้างกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจำนวน 15 คน และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) จากชาวบ้านชุมชนบ้านบางกะจะ จำนวน 370 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาใช้สถิติความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการสังเคราะห์ความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและดัชนีความสุขของชาวบ้านชุมชนบ้านบางกะจะเพื่อเสนอแนวทางองค์กรแห่งความสุขในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านบางกะจะ ผลการศึกษาพบว่าชุมชนบ้านบางกะจะมีศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยวชุมชนจากความร่วมมือของคนในชุมชนและการสนับสนุนของหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งสอดคล้องกับการวัดดัชนีความสุขของสมาชิกในชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก จึงเสนอแนวทางการพัฒนาได้ 2 รูปแบบ คือ 1) การส่งเสริมมิติองค์กรแห่งความสุขเพื่อการเพิ่มโอกาสการท่องเที่ยวชุมชนบ้านบางกะจะให้มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น ประกอบด้วย 4 มิติ คือ มิติด้านครอบครัวดี (Happy Family) มิติด้านจิตวิญญาณดี (Happy Soul) มิติด้านสังคมดี (Happy Society) และ มิติด้านการงานดี (Happy Work-life) 2) การให้ความสนใจและเร่งเสริมแรงมิติองค์กรแห่งความสุขเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านบางกะจะให้เกิดประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 5 มิติ คือมิติด้านสุขภาพดี (Happy Body) มิติด้านสุขภาพเงินดี (Happy Money) มิติด้านใฝ่รู้ดี (Happy Brain) มิติด้านน้ำใจดี (Happy Heart) และมิติด้านผ่อนคลายดี (Happy Relax)
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purposes of this mixed method research were: 1) to investigate the management of happy workplace for Ban Bang Kacha community-based tourism, 2) to assess the happiness level of villagers for the development of Ban Bang Kacha community-based tourism and 3) to propose the guidelines of happy workplace for developing Ban Bang Kacha community-based tourism. The qualitative data were collected by semi-structure interview from 15 participants and the quantitative data were collected from 370 participations of Ban Bang Kacha community. The data from questionnaires were analyzed according to frequency, percentage, mean, and standard deviation. Opinions of stakeholders and happiness of villagers in Ban Bang Kacha community-based tourism were synthesized to propose happy workplace for developing Ban Bang Kacha community-based tourism. The main findings revealed that Ban Bang Kacha community has the potential for community tourism management due to the cooporation of villagers and the support of various agencies. This was consistent with the overall measurement of the happiness index of villagers in Ban Bang Kacha community-based tourism was high. Therefore, the two crucial approaches of developing Ban Bang Kacha community-based tourism: 1) the promoting happiness workplace for increasing efficiency of developing Ban Bang Kacha community-based tourism consisting of 4 dimensions: Happy Family, Happy Soul, Happy Society, and Happy Work-life. 2) focusing on the development of happy workplace for achieving efficiency of developing Ban Bang Kacha community-based tourism consisting of 5 dimensions: Happy Body, Happy Money, Happy Brain, Happy Heart and Happy Relax.
คำสำคัญ
องค์กรแห่งความสุข, การพัฒนาการท่องเที่ยว, ชุมชนบางกะจะ
Keywords
Happy Workplace, Tourism Development, Bang Kacha Community
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-04-26 13:46:41
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก