Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การออกแบบของที่ระลึกของชุมชนริมน้ำจันทบูร อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Design of Souvenirs for Chanthaboon Waterfront Community, Mueang, Chanthaburi
ชื่อผู้แต่ง
ศาสตรพันธุ์ บุญน้อย, สิริวิภา วิมุกตายน และ พนม จงกล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2564
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การออกแบบของที่ระลึกของชุมชนริมน้ำจันทบูร อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาอัตลักษณ์และของที่ระลึกของชุมชนริมน้ำจันทบูร อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี 2) เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกของชุมชนริมน้ำจันทบูร อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี การดำเนินวิจัย คือ 1) ศึกษาอัตลักษณ์และของที่ระลึกของชุมชนริมน้ำจันทบูร จากกลุ่มผู้นำชุมชนและผู้ประกอบการชุมชนริมน้ำจันทบูร จำนวน 3 คน เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ 2) ออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกของชุมชนริมน้ำจันทบูร โดยจัดทำแบบร่างการออกแบบ จำนวน 1 ชุด ประกอบด้วย ของที่ระลึก 3 ชิ้น ชิ้นละ 5 แบบร่าง และนำไปใช้สอบถามผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบของที่ระลึก จำนวน 3 ท่าน โดยใช้แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญคัดเลือกแบบร่างการออกแบบของที่ระลึก คัดเลือกแบบร่าง จำนวน 1 แบบเพื่อนำไปใช้เป็นของที่ระลึกต้นแบบ 3) ประเมินความพึงพอใจจากกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในชุมชนริมน้ำจันทบูร จำนวน 100 คน โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจการออกแบบของที่ระลึกของชุมชนริมน้ำจันทบูร ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาอัตลักษณ์และของที่ระลึกของชุมชนริมน้ำจันทบูร เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ โดยแบ่งเป็น 2 ด้าน ได้แก่ ด้านอัตลักษณ์ของชุมชนริมน้ำ คือ 1) อัตลักษณ์ที่จับต้องได้ คือ งานสถาปัตยกรรมและบ้านเรือนที่มีความเก่าแก่ การแกะสลักไม้ ช่องลมไม้ฉลุแบบขนมปังขิง 2) อัตลักษณ์ที่จับต้องไม่ได้ คือ วิถีชิวิต ความเรียบง่ายและสงบของชุมชน และด้านผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก พบว่า ผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ ได้แก่ ร่ม กระเป๋า กล่องอเนกประสงค์ที่แสดงออกถึงชุมชนริมน้ำ 2. ผลการออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกของชุมชนริมน้ำจันทบูร จากการประเมินแบบร่างการออกแบบของผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ค่าเฉลี่ยรวมของแบบร่างการออกแบบ แบบที่ 3 มีความเหมาะสมมากที่สุดทุกด้าน ได้แก่ ด้านลักษณะเฉพาะ ด้านความสวยงาม ด้านหน้าที่ใช้สอย และ ด้านกรรมวิธีการผลิต และมีผลความพึงพอใจของกลุ่มนักท่องเที่ยว อยู่ในระดับพึงพอใจมาก
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The Objectives of the research were to: 1) study the identity and souvenirs of Chanthaboon Waterfront Community in Mueang Chanthaburi District, Chanthaburi Province, and 2) design souvenirs of Chanthaboon Waterfront Community. There were three research methods. The first one was to study the identity and souvenirs of Chanthaboon Waterfront Community by Interviewing three targeted people including leaders and entrepreneurs in Chanthaboon Waterfront Community. The second one was to design souvenirs of Chanthaboon Waterfront Community by creating a set of designing sketches consisting of 3 souvenirs with 5 design sketches per a souvenir. Then, a set of designing sketches would be selected by three souvenir designing experts from an interview form to create a model of souvenir. And the last one was to assess the satisfaction of 100 tourists in Chanthaboon Waterfront Community by using souvenir designing assessment form. The results showed that: 1) the study of the identity and souvenirs of Chantaboon Waterfront Community to guide for designing was divided into 2 aspects; the identity: 1) tangible identity: architecture, ancient houses, wood carving, and gingerbread wood stencil, and 2) intangible identity: the simplicity way of life, and peaceful community; souvenirs: they could be products that could be used in everyday life such as umbrellas, bags, multi-purposes boxes expressing Chanthaboon Waterfront Community. 2) The study of designing souvenirs of Chanthaboon Waterfront Community by the experts showed that the total average of the third designing sketch was the most suitable in all aspects which were characteristic, aesthetic, function, and production. the tourists’ satisfaction result was at a very satisfactory level.
คำสำคัญ
ออกแบบ, ของที่ระลึก, ชุมชนริมน้ำจันทบูร
Keywords
Design, Souvenirs, Chanthaboon Waterfront Community.
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2023-03-09 15:07:34
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย