ระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ { RBRU E-Research }

รายการข้อมูลงานวิจัย

รายการข้อมูลงานวิจัย

ปัญหาการทางานของคนต่างด้าวในเขตจังหวัดจันทบุรี : ศึกษากรณีค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าชดเชย
Enforcement of Foreign Workers Labor law in Chanthaburi province: A case study of Employees Wages, Overtime, Working on Holidays and compensation
ปองปรีดา ทองมาดี , ณัชชา ฮาเกมันน์ , กุลปราณี ศรีใย และ สุวิชา เย็นเจริญ
คณะนิติศาสตร์
งานวิจัย
2559
การบังคับใช้กฎหมายแรงงานต่างด้าวในเขตจันทบุรี : ศึกษากรณีค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าชดเชย จากการศึกษาพบว่า ประการที่หนึ่งปัญหาของลูกจ้างต่างด้าวส่วนมากไม่มีความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ตามอัตราขั้นต่าที่นายจ้างควรจะจ่ายให้แก่ลูกจ้าง วิธีแก้ไขควรให้ความรู้กับลูกจ้าง หรือมีแหล่งเรียนรู้ในสถานประกอบการณ์ หรือหน่วยงานของรัฐควรออกพื้นที่ให้ความรู้ตามสถานประกอบการณ์ต่างๆ จะทาให้ลูกจ้างรู้ว่าตนเองมีสิทธิโดยชอบตามกฎหมายและกล้าที่จะเรียกร้องจากนายจ้างได้ ประการที่สองนายจ้างทราบดีว่าต้องจ่ายตามอัตราขั้นต่าของกฎหมาย หรือลูกจ้างต่างด้าวเรียกร้องตามอัตราขั้นต่าจากนายจ้างแล้ว แต่นายจ้างไม่ยินยอมจ่ายให้หรือจ่ายให้แต่ไม่ครบตามที่กฎหมายกาหนด แสดงให้เห็นว่านายจ้างไม่เกรงกลัวต่อกฎหมาย วิธีแก้ไขควรมีการแก้ไขกฎหมายด้วยการเพิ่มโทษตามมาตรา 114 อีกหนึ่งเท่า ประการที่สามวิธีการดาเนินคดีตามกฎหมาย ทาให้ลูกจ้างต่างด้าวเสียเปรียบ ซึ่งการดาเนินการตามกฎหมายลูกจ้างต่างด้าวต้องยื่นคาร้องต่อสานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ลูกจ้างต่างด้าวไม่มีความรู้และไม่กล้าร้องเรียนนายจ้าง เนื่องจากต้องทางานหรืออาศัยอยู่กับนายจ้าง หากยื่นคาร้องเรียนนายจ้างก็จะทาให้การทางานหรืออยู่ร่วมกันกับนายจ้างไม่ได้ หรือนายจ้างอาจเลิกจ้างเสียก่อนที่จะมีการร้องเรียน วิธีแก้ไขควรให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐควรออกพื้นที่สอบถามลูกจ้างต่างด้าวนอกเวลาทางาน หรือสอบถามนอกสถานประกอบการณ์ เพื่อพบการกระทาความผิดและดาเนินคดีได้โดยไม่ต้องรอให้ลูกจ้างต่างด้าวเข้ามายื่นคาร้องเรียนต่อสานักงาน และเจ้าพนักงานของรัฐควรรับผิดชอบในเขตจังหวัดของตน หากพบว่าในเขตจังหวัดใดมีนายจ้างไม่จ่ายเงินให้กับลูกจ้างตามอัตราขั้นต่า ถือว่าเจ้าพนักงานของรัฐในเขตดังกล่าวบกพร่องต่อหน้าที่และควรมีบทลงโทษ
Enforcement of Foreign Workers Labor law in Chanthaburi province: A case study of Employees Wages, Overtime, Working on Holidays and compensation. The research found that First, the foreign workers had no knowledge about labor law regarding the minimum wages that the employer must pay, to resolve this, education should be provided or there should be a learning center in the employer’s premises, or government officials should visit and provide information at the employer’s places, this will enable the employees to learn about their right under the law and be confident in negotiate with their employers; Second, the employer knew about the minimum wages plus the employee had requested for the minimum wages but the former refused to pay or pay lesser than the minimum wages required by law. This can only conclude that the employer is not obedient to the law. To resolve this issue, there should be a double incensement in level of punishment to the law in accordance to the act 114; Third, the practice of law had put the foreign workers in the under privilege situation. Normally, the foreign workers must file their case to the Office of Labor Protection and Welfare in which foreign workers had no knowledge and no confident to act against their employers. This is because mostly they live with the employers if they do so it will affect their work and their shelter. On the other hands, the employers may terminate the contract prior to the filing of the case. To resolve this, the government officials should provide outreach services to the foreign workers, not in their working hours or should carry out the enquiries outside the employer’s area. When the officials spot the misconduct they should pursuit the case immediately without waiting for the filing document from foreign workers. In addition, the officials should be hold responsible if there are any cases of employers refuse to pay minimum wages in accordance to the law and the officials should be considered lack of responsibility, and they should be punish by law.
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมาย, พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541, จังหวัดจันทบุรี
The problem for law enforcement, The Labour Protection Act BE 2541, Chanthaburi province.
ณัฐฐานี ดีซื่อ แก้ไขล่าสุด 2020-10-01 13:59:02