Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาการจัดการ
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
รูปแบบการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการชุมชนเพื่อพัฒนาสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นประมงสู่การท่องเที่ยวในเขตพื้นที่จังหวัดระยอง
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Model of Entrepreneur Network Creation to Develop Local Fishery-Based Products for Tourism in Rayong Province
ชื่อผู้แต่ง
สิทธิชัย ศรีเจริญประมง , นภดล แสงแข และ นิศารัตน์ แสงแข
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาการจัดการ
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2563
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจความต้องการสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นประมงของนักท่องเที่ยวชาวไทย 2) ศึกษาสมรรถนะการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการชุมชนในการพัฒนาสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นประมงสู่การท่องเที่ยว และ 3) เสนอรูปแบบการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการชุมชนเพื่อพัฒนาสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นประมงสู่การท่องเที่ยวในเขตพื้นที่จังหวัดระยอง งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบผสม โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งใช้แบบสอบถามเพื่อสำรวจความต้องการสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นประมงจากนักท่องเที่ยวชาวไทย จำนวน 400 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อศึกษาสมรรถนะการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการชุมชนในการพัฒนาสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นประมงสู่การท่องเที่ยว โดยวิธีการประชุมกลุ่มย่อย (Small Group Discussion) ผลการวิจัย พบว่า 1) นักท่องเที่ยวชาวไทยมีความต้องการสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นประมงในเขตพื้นที่จังหวัดระยอง ในด้านผลิตภัณฑ์สูงที่สุด โดยมีความต้องการซื้อน้ำปลา หรือกะปิ รองลงมาคือ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านสิ่งกระตุ้นอื่นๆ และด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ปัจจัยที่มีผลต่อสิ่งกระตุ้นความต้องการสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นประมงในเขตพื้นที่จังหวัดระยอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด 2) สมรรถนะการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการชุมชนในการพัฒนาสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นประมงสู่การท่องเที่ยว คือ ความสัมพันธ์ที่ดีของคนในชุมชน ซึ่งเป็นทุนทางสังคมที่เชื่อมโยง และสร้างความผูกพันของชาวบ้านที่มีส่วนช่วยในการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการชุมชน 3) “รูปแบบคาล” เป็นรูปแบบการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการชุมชนเพื่อพัฒนาสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่นประมงสู่การท่องเที่ยวในเขตพื้นที่จังหวัดระยอง
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research aimed to: 1) explore the demand for local fishery-based products of Thai tourists, 2) study the competency of entrepreneur network creation to develop local fishery-based products for tourism and 3) propose a model of entrepreneur network creation to develop local fishery-based products for tourism in Rayong Province. This research is a Mixed Methods research. The quantitative research methodology was used to survey the demand for local fishery-based products. The sample size was a group of 400 Thai tourists. The qualitative research methodology was used to study competency of entrepreneur network creation to develop local fishery-based products for tourism using small group discussion method. The results revealed that 1) the highest dimension of the demand for local fishery-based product was at in the "extremely agreeable level”. Fish sauce or shrimp paste are the top rank products. Followed by promotion, price, other stimuli and place respectively. Factors affecting stimulation of demand for local fishery-based product in the Rayong province were product, place and promotion at the .001 level of statistical significace. 2) the competency of entrepreneur network creation to develop local fishery-based products for tourism was a good relationship among the people in the community. It was social capital supporting the relationship between villagers by creating entrepreneur network creation for tourism. 3) “KAL Model” was consistent a model of entrepreneur network creation to develop local fishery-based products for tourism in Rayong province.
คำสำคัญ
การสร้างเครือข่าย, ภูมิปัญญาท้องถิ่นประมง, การท่องเที่ยว
Keywords
Network Creation, Local Fishery-Based Product, Tourism
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-05-21 11:25:47
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย