Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนา สมรรถนะทางวิชาชีพของครูปฐมวัยในจังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
A NEEDS ASSESSMENT TO DEVELOP EARLY CHILDHOOD TEACHERS ’ PROFESSIONAL COMPETENCY IN CHANTHABURI PROVINCE
ชื่อผู้แต่ง
วราลี ถนอมชาติ และ นภัส ศรีเจริญประมง
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็น (Needs Assessment) ในการพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพครู จัดลำดับความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพครู ซึ่งประกอบด้วย สมรรถนะหลัก (Core Competency) และสมรรถนะประจำสายงาน (Functional Competency) และเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพของครู กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาจันทบุรี และสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 235 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และแนวคำถามในการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ดัชนีความต้องการจำเป็น (Modified Priority Needs Index) และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยของความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพครูปฐมวัยในจังหวัดจันทบุรี พบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของการปฏิบัติในการพัฒนาสมรรถนะหลักในสภาพที่เป็นจริง อยู่ในระดับมาก (X ̅ = 3.946) และสภาพที่ควรจะเป็นอยู่ในระดับมากที่สุด (X ̅ = 4.875) 2) ค่าเฉลี่ยของการปฏิบัติในการพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานในสภาพที่เป็นจริงอยู่ในระดับมาก (X ̅ = 3.950) และสภาพที่ควรจะเป็นอยู่ในระดับมากที่สุด (X ̅ = 4.844) 2. ผลของการจัดอันดับความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพครู พบว่าความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะหลักมากที่สุด คือ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน รองลงมา คือ การพัฒนาตนเอง และการทำงานเป็นทีม ตามลำดับ ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานมากที่สุด คือ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน รองลงมา คือ การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ และการบริหารจัดการชั้นเรียน ตามลำดับ 3. แนวทางการพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพของครูปฐมวัยที่สำคัญจำแนกความจำเป็น มากที่สุดของแต่ละด้าน ดังนี้ สมรรถนะหลัก คือ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน สมรรถนะประจำสายงาน คือ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The research objectives were to study needs assessment, needs priority, and approaches for professional competency development of early childhood teachers in Chanthaburi province. The participants were 235 early childhood teachers. Research instruments were a questionnaire with 5-level rating scale to collect the quantitative data and a focus group discussion guideline was conducted to gather qualitative data. Data analysis employed the techniques of frequency distribution, mean, standard deviation, modified priority needs index, and content analysis. The research revealed as follows : 1. The mean scores of performance for development of early childhood teachers’ professional competency were as follows : 1) the means of performance of core competency development in reality was at a high level (X ̅= 3.946), and as expected was at the highest level (X ̅ = 4.875). 2) The means of performance of functional competency development in reality was at a high level (X ̅ = 3.950), and as expected was at the highest level (X ̅ = 4.844). 2. The most core competency critical needs were for working achievement motivation followed by self-development, and team work. The most functional competency critical needs were for analysis synthesis and classroom research followed by curriculum and learning management, and classroom management. 3. The most important approaches to develop early childhood teachers’core competency in each aspect were as follows : working achievement motivation, and development functional competency : analysis synthesis and research classroom.
คำสำคัญ
การประเมินความต้องการจำเป็น, สมรรถนะทางวิชาชีพครูปฐมวัย
Keywords
Needs Assessment, Professional Competency, Early Childhood Teachers
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-09-30 16:15:38
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก