Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ทักษะดิจิทัลของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Digital Literacy Among Education Students at Rambhai Barni Rajabhat University
ชื่อผู้แต่ง
เจนจบ สุขแสงประสิทธิ์, จุลลดา จุลเสวก และ อัฐฉญา แพทย์ศาสตร์
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2565
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
วัตถุประสงค์งานวิจัย 1) เพื่อศึกษาทักษะดิจิทัลของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ และ 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะดิจิทัล จำแนกตามเพศและสาขาวิชา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ จำนวน 321 คน ได้มาจากวิธีการสุมแบบแบ่งชั้นภูมิ วิธีดำเนินการวิจัยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบทักษะดิจิทัล จำแนกตามเพศ สาขาวิชา การวิเคราะห์จำแนกตามเพศโดยการทดสอบค่าที และจำแนกชั้นปีใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว สรุปผลดังนี้ 1) หญิง (ร้อยละ 69.80) ชาย (ร้อยละ 30.20) 2) สาขาวิชาสังคมศึกษา มากที่สุด สาขาวิชาดนตรีศึกษา และสาขาวิชาการศึกษาพิเศษและภาษาอังกฤษ น้อยที่สุด 3) ทักษะดิจิทัลจำแนกเป็นด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 4) ด้านการใช้ (3.93) คือ สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ต (4.52) สามารถใช้โปรแกรมประชุมออนไลน์ (4.31) และสามารถใช้งานโซเชียลมีเดียอย่างรู้เท่าทัน (4.24) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ สามารถใช้โปรแกรมแก้ไขงานกราฟิก (3.52) 5) ด้านการเข้าใจ (3.80) คือ เข้าใจหลักการใช้งานโซเชียลมีเดียอย่างรู้เท่าทัน (4.10) เข้าใจหลักการทำงานของอินเทอร์เน็ต (4.09) และเข้าใจหลักการทำงานในการประชุมออนไลน์ (4.03) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ เข้าใจหลักการทำงานในอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ (3.53) 6) ด้านการสร้างสรรค์ (3.82) คือ สามารถใช้งานโซเชียลมีเดียอย่างสร้างสรรค์ (4.07) สามารถออกแบบผลงานด้วยโปรแกรมจัดการงานนำเสนอ (3.94) และสามารถออกแบบผลงานผ่านแอปพลิเคชันและแพลตฟอร์ม (3.84) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ สามารถออกแบบผลงานด้วยโปรแกรมจัดการตารางและการคำนวณ (3.60) 7) เปรียบเทียบทักษะดิจิทัลจำแนกตามเพศ พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 8) ผลการวิเคราะห์แบ่งตามด้าน พบว่า ด้านการใช้และด้านการเข้าใจ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และด้านการสร้างสรรค์ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 9) เปรียบเทียบทักษะดิจิทัลจำแนกสาขาวิชา พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ 10) เปรียบเทียบทักษะดิจิทัลจำแนกตามสาขาวิชาโดยแบ่งตามด้าน พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research aimed to achieve two primary objectives: 1) to examine the digital literacy levels among students within the Faculty of Education and 2) to analyze and compare digital literacy levels across different genders and fields of study. A total of 321 students from the Faculty of Education participated in the study, selected through stratified random sampling. The research methodology involved the distribution of questionnaire, with data analysis encompassing mean scores, and standard deviations, as well as comparisons of digital literacy based on gender, field of study, and years of education using t-test and one-way analysis of variance. The findings of the study and summarized and follows: 1) gender distribution revealed that 69.80% were female and 30.20% were male students, 2) among various fields of study, social studies and music education majors demonstrated higher digital literacy levels, while special education and English majors exhibited comparatively lower levels, 3) overall, digital literacy levels were categorized into distinct aspects, with and overall high proficiency observed, 4) the “Use” aspect scored the highest (3.93), with specific high scores in skills such as internet usage (4.52), engagement with online meeting platforms (4.31), and proficient use of social media (4.24). Conversely, the lowest average was recorded for the skill of using graphic editors (3.52), 5) in terms of “Comprehension” (3.80), students displayed a strong understanding of principles related to intentional social media use (4.10), comprehension of internet functionalities (4.09), and grasping the mechanisms of online meetings (4.03). Notably, the lowest average was associated with the understanding of hardware devices operations (3.53), 6) regarding “Creativity” (3.82), students displayed creative aptitude in using social media innovatively (4.07), designing presentations with management programs (3.94), and generating content through various applications and platforms (3.84). Conversely, the lowest average pertained to designing works involving tables and calculations (3.60), 7) a gender-based comparison of digital literacy skills demonstrated statistically significant overall differences at a significance level of .05, 8) further analysis, categorized by aspects, indicated statistically significant difference in the “Use” and “Comprehension” aspects at the .05 significant level, whereas no statistically significant difference was observed in the “Creativity” aspect, 9) comparison of digital literacy levels across different fields of study did not yield statistically significant differences at the .05 significance level, and 10) additionally, when comparing digital literacy across different fields of study, no statistically significant differences were identified at the .05 significance level.
คำสำคัญ
ทักษะดิจิทัล, นักศึกษาคณะครุศาสตร์
Keywords
Digital Literacy, Student Teacher
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2024-01-16 14:09:46
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย