Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะนิเทศศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การส่งเสริมอัตลักษณ์เพื่อการท่องเที่ยวของหมู่บ้านเสม็ดงาม จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Promoting Identities for Tourism of the Samed Ngam Village, Chantaburi Province
ชื่อผู้แต่ง
สมพงษ์ เส้งมณีย์ , บวรสรรค์ เจี่ยดำรง และ เหมือนฝัน คงสมแสวง
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะนิเทศศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติการชุมชนมี ส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อวิเคราะห์กระบวนการสื่อสารหมู่บ้านเสม็ดงามในการส่งเสริม การท่องเที่ยว 2. เพื่อวิเคราะห์อัตลักษณ์ของหมู่บ้านเสม็ดงามที่ใช้ในการส่งเสริม การท่องเที่ยว 3. เพื่อสังเคราะห์ แนวทางการสื่อสารในการส่งเสริมอัตลักษณ์ของหมู่บ้านเสม็ดงามเพื่อการท่องเที่ยว โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และการประชุมระดมความคิด เป็นเครื่องมือในการศึกษาและรวบรวมข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการสื่อสารของหมู่บ้านเสม็ดงามเพื่อการท่องเที่ยวเป็นการสื่อสารแบบสองทาง การสื่อสารแบบแนวระนาบ และ การไหลของข่าวสารสองจังหวะ อัตลักษณ์ของหมู่บ้านเสม็ดงามที่ใช้ในการส่งเสริมการท่องเที่ยว ได้แก่ ป่าชายเลนเสม็ดงาม เสื่อเสม็ดงาม ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน และพิพิธภัณฑ์อู่ต่อเรือ และมะม่วง
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research study was a qualitative research by conducting community based particpatory research. The objective of the research were; 1. to analyze the communication process on promoting tourism of Samed Ngam Village in 2. to analyze the identity of Samed Ngam Village used in tourism promotion 3. to synthesize communication guidelines for promoting identity of Samed Ngam Village for tourism. The research tools included in-depth interviews and brainstorming meetings for studying and collecting data. The study indicated that the communication process of Samed Ngam village for tourism was two way communication horizontal communication and two-step flow communication. The identity of Samed Ngam village used in tourism promotion is Samed Ngam Mangrove Forest, Samed Ngam mat, King Taksin Shrine, Museum of King Taksin the Great Shipyard and Samed Ngam mangoes.
คำสำคัญ
ท่องเที่ยวชุมชน, อัตลักษณ์การท่องเที่ยว, ท่องเที่ยวจันทบุรี
Keywords
Community Tourism, Tourism Identity, Chanthaburi Travel
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-04-27 10:11:56
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก